วันอังคารที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2561
บำรุงรักษาระบบ
บำรุงรักษาระบบ คือขั้นตอนการดูแลระบบต่างๆเช่นการแก้ไขจุดบกพร่องที่เกิดขึ้นหลังจากการใช้งานในสภาพแวดล้อมจริง การเพิ่มเติมความสามารถของระบบงาน การปรับเปลี่ยนการทำงานบางประการให้ทันสมัยมากขึ้น เป็นต้น จากขั้นตอนการพัฒนาโครงงานทางเทคโนโลยีสามารถนำเอาหลักแนวคิดเชิงคำนวณเข้าไปประยุกต์ใช้ตั้งแต่การกำหนดปัญหาใหญ่
ติดตั้งระบบ
ติดตั้งระบบ คือฟขั้นตอนการนำซอฟต์แวร์และระบบงานใหม่ที่เสร็จสมบูรณ์มาติดตั้งในสภาพแวดล้อมการทำงานจริง จัดทำเอกสารการติดตั้งระบบงานใหม่และคู่มือการใช้งาน จัดฝึกอบรมผู้ใช้งานดำเนินการใช้ระบบงานใหม่ ประเมินผลการใช้งานระบบงานใหม่ เพื่อหาจุดบกพร่องต่างๆ ซึ่งการใช้งานระบบงานใหม่นั้น ควรใช้งานควบคู่กับนะบบงานเดิม(กรณีที่มีระบบงานเดิม)โดยใช้ข้อมูลชุดเดียวกันและเปรียบผลลัพธ์ว่าตรงกันหรือไม่ หากถูกต้องตรงกันจึงนำระบบงานเดิมออกแล้วใช้งานระบบงานใหม่แทนที่
ออกแบบระบบ
ออกแบบระบบ คือ ขั้นตอนการกำหนดวิธีการแก้ไขปัญหาต่างๆ จากขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบโดยขั้นตอนนี้กำหนดขั้นตอนการทำงานโดยใช้แผนภาพลำดับขั้นตอนการทำงาน(flowchart) แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูล(Entity relationship Diagram :ER Diagram)
พจนานุกรมข้อมูล(data dictionary) หน้าจอส่วนติดต่อกับผู้ใช้งาน(Graphic User Interface :GUL)
เทคโนโลยีต่างๆ
พัฒนาระบบและทดสอบระบบ
พัฒนาระบบและทดสอบระบบ คือ ขั้นตอนการดำเนินงานต่างๆเพื่อพัฒนาระบบ โดยดำเนินงานตามการออกแบบจากขั้นตอนการออกแบบระบบ เช่นการเขียนชุดคำสั่งต่างๆ เพื่อสร้างซอฟต์แวร์ การสร้างฐานข้อมูลเพื่อจัดเก็บข้อมูล จัดทำเอกสารการพัฒนาระบบ รวมถึงการทดสอบระบบงานว่าสามารถทำงานได้อย่างถูก และตรงตามความต้องการของผู้ใช้งานจากขั้นตอนการวิเคาระห์ระบบหรือไม่ โดยทดสอบในสภาพแวดล้อมจำลองและสภาพแวดล้อมจริง เป็นต้น
พจนานุกรมข้อมูล(data dictionary) หน้าจอส่วนติดต่อกับผู้ใช้งาน(Graphic User Interface :GUL)
เทคโนโลยีต่างๆ
พัฒนาระบบและทดสอบระบบ
พัฒนาระบบและทดสอบระบบ คือ ขั้นตอนการดำเนินงานต่างๆเพื่อพัฒนาระบบ โดยดำเนินงานตามการออกแบบจากขั้นตอนการออกแบบระบบ เช่นการเขียนชุดคำสั่งต่างๆ เพื่อสร้างซอฟต์แวร์ การสร้างฐานข้อมูลเพื่อจัดเก็บข้อมูล จัดทำเอกสารการพัฒนาระบบ รวมถึงการทดสอบระบบงานว่าสามารถทำงานได้อย่างถูก และตรงตามความต้องการของผู้ใช้งานจากขั้นตอนการวิเคาระห์ระบบหรือไม่ โดยทดสอบในสภาพแวดล้อมจำลองและสภาพแวดล้อมจริง เป็นต้น
ขั้นตอนกานดำเนินงาน(process)เป็นงานที่ดำเนินการตอบสนองข้อมูลที่รับเข้าหรือดำเนินการตอบสนองต่อเงื่อนไขสภาวะใดๆทีเกิดขึ้นไม่ว่าขั้นตอนการดำเนินงานนั้นจะกระทำโดยบุคล หน่วยงาน
หุ่นยนต์ เครื่องจักรหรือเครื่อง คอมพิวเตอร์ก็ตาม
แหล่งจัดเก็บข้อมูบ(data store) เป็นแหล่งจัดเก็บบันทึกข้อมูลเปรียบเสมือนคลังข้อมูล (เทียบเท่ากัยไฟล์ข้อมูลและฐานข้อมูล) โดยอธิบายรายละเอียดคุณสมบัติเฉพาะตัว
ตัวแทนข้อมูล(external agents) หมายถึงบุคลหน่วยงานในองค์กรอื่นๆหรือระบบงานอื่นๆ ที่อยู่ภายนอกขอบเขตระบบ แต่มีความสัมพันธ์กับระบบโดยมีการส่งข้อมูลเข้าสู่ระบบเพื่อดำเนินงาน
เส้นทางการไหลของข้อมูล(data flow) เป็าการสื่อสารระหว่างขั้นตอนการทำงานต่างๆและสภาพแสดล้อมภายนอกหรือภายในระบบโดยแสดงถึงข้อมูลที่นำเข้าและส่งออกไปในแต่ละขั้นตอน
แผนภาพบริบท(context diagram) เป็นแผนภาพกระแสข้อมูลบนสุดที่แสดงภาพรวมทั้งหมดของระบบที่มีความสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมภายนอกระบบ ซึ่งประกอบด้วย กระบวนการเพียงกระบวนการเดียวนั่น คือ ระบบที่ศึกษา บุคคล ระบบภายนอก และการเคลื่อนที่ข้องมูลจากภายนอกระบบสู่ระบบ
หุ่นยนต์ เครื่องจักรหรือเครื่อง คอมพิวเตอร์ก็ตาม
แหล่งจัดเก็บข้อมูบ(data store) เป็นแหล่งจัดเก็บบันทึกข้อมูลเปรียบเสมือนคลังข้อมูล (เทียบเท่ากัยไฟล์ข้อมูลและฐานข้อมูล) โดยอธิบายรายละเอียดคุณสมบัติเฉพาะตัว
ตัวแทนข้อมูล(external agents) หมายถึงบุคลหน่วยงานในองค์กรอื่นๆหรือระบบงานอื่นๆ ที่อยู่ภายนอกขอบเขตระบบ แต่มีความสัมพันธ์กับระบบโดยมีการส่งข้อมูลเข้าสู่ระบบเพื่อดำเนินงาน
เส้นทางการไหลของข้อมูล(data flow) เป็าการสื่อสารระหว่างขั้นตอนการทำงานต่างๆและสภาพแสดล้อมภายนอกหรือภายในระบบโดยแสดงถึงข้อมูลที่นำเข้าและส่งออกไปในแต่ละขั้นตอน
แผนภาพบริบท(context diagram) เป็นแผนภาพกระแสข้อมูลบนสุดที่แสดงภาพรวมทั้งหมดของระบบที่มีความสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมภายนอกระบบ ซึ่งประกอบด้วย กระบวนการเพียงกระบวนการเดียวนั่น คือ ระบบที่ศึกษา บุคคล ระบบภายนอก และการเคลื่อนที่ข้องมูลจากภายนอกระบบสู่ระบบ
วันจันทร์ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2561
แนวคิดเชิงคำนวณ (computationa thinking)
แนวคิดเชิงคำนวณ (computationa thinking)
ไม่ใช่การคิดเหมือนหุ่นยนต์ หรือการเขียนโปรแกรมโดยผู้เชี่ยวชาญ แต่เป้นทักษะที่มุ่งดเน้นการคิดเชิงตรรกะ คือ สามารถอธิบายการคิดเชิงคำนวณอย่างเป็นระบบ หรือเป็นการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นลำดับขั้นตอน โดยการเข้าใจปัญหาและวิธีการในการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้มาซึ่งวิธีการแก้ไขปัยหาที่ทั้งมนุษญ์และคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจร่วมกันได้
แนวคิดเชิงคำนวณ
1. แนวคิดการแยกย่อย(Decomposition)
เช่น การแตกปัญหากระบวนการออกเป็นส่วนย่อยเพื่อแก้ไขปัญหาได้ง่ายขึ้น
2. แนวคิดการจดจำรูปแบบ (pattrn recognition)
เพื่อดุความแตกต่างของรูปแบบการเปลี่ยนแปลง ทำให้ทราบแนวดน้มเพื่อทำนายไปข้างหน้า
3.แนวคิดเชิงประธรรม (Abstraction)
เป็นทักษะที่สำคัยที่มุ่วงเน้นความสำคัญของปัญหาโดยไม่สนใจรายละเอียดที่ไม่จำเป็น และต่อยอดให้เกิดแบบจำลองหรือสูตร
4. แนวคิดการออกแบบขั้นตอน (Algorithm Design)
ทำให้ทราบว่าจะต้องทำอะไรก่อนอะไรหลัง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)